ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า กับประจุไฟฟ้า ของ กระแสไฟฟ้า

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก

สัญลักษณ์ที่ใช้แทนปริมาณกระแสไฟฟ้า (ปริมาณประจุไฟฟ้า Q ที่ไหลต่อหน่วยเวลา T) คือ Iปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผ่านพื้นที่ภาคตัดขวางใดๆ (เช่น ภาคตัดขวางในลวดทองแดง) นิยามจาก ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผ่านพื้นที่ผิวในหน่วยเวลา[9]

I = Q T {\displaystyle I={Q \over T}}

โดยที่ Q {\displaystyle Q} เป็นปริมาณประจุที่ผ่านพื้นที่ผิวหนึ่งในช่วงเวลา T {\displaystyle T} ในสมการข้างบนเป็นค่ากระแสไฟฟ้าเฉลี่ย I {\displaystyle I} ถ้าเวลา T {\displaystyle T} เข้าใกล้ศูนย์ สามารถเขียนความสัมพันธ์อีกแบบในรูปกระแสไฟฟ้าขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous current)

i ( t ) = d q ( t ) d t {\displaystyle i(t)={dq(t) \over dt}} หรือผันกลับได้ q ( t ) = ∫ − ∞ t i ( x ) d x {\displaystyle q(t)=\int _{-\infty }^{t}i(x)\,dx}

หน่วยของกระแสไฟฟ้าในระบบ SI คือ แอมแปร์ (ampere, A)

แหล่งที่มา

WikiPedia: กระแสไฟฟ้า http://books.google.com/?id=3SsYctmvZkoC&pg=PA13 http://books.google.com/books?id=BCZLAAAAYAAJ http://board.postjung.com/686252.html http://www.ampere.cnrs.fr/textes/recueil/pdf/recue... http://library.thinkquest.org/10796/ch13/ch13.htm http://www.elecnet.chandra.ac.th/courses/ELTC1201/... http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/eng1.htm http://science.sut.ac.th/physics/courses/105102/55... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Electr...